Commons:Wiki Science Competition 2021 in Thailand
![]() Wiki Science Competition เป็นการประกวดภาพถ่ายนานาชาติเพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์ทุกแขนง จัดโดยวิกิมีเดีย This webpage in English/หน้าเว็บนี้ในภาษาอังกฤษ: Wiki Science Competition 2021 in Thailand/en |
เกี่ยวกับงานประกวด[edit]
Wiki Science Competition (WSC) เป็นงานประกวดภาพถ่ายวิทยาศาสตร์นานาชาติจัดขึ้นโดยกลุ่มอาสาสมัครวิกิมีเดียในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศไทยและระดับสากล ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2564 นี้ งานประกวดนี้ได้รับการจัดขึ้นครั้งแรก ณ สาธารณรัฐเอสโตเนีย และในปี 2558 ได้เติบโตขึ้นเป็นงาน European Science Photo Competition ซึ่งจัดขึ้นอย่างแพร่หลายทั่วยุโรป ส่งผลให้มีรูปภาพส่งเข้ามาเกือบ 10,000 ภาพจากผู้เข้าร่วมประกวดกว่า 2,200 ราย สำหรับในปี 2560 นี้เป็นปีแรกที่งานดังกล่าวจะได้รับการจัดขึ้นในระดับโลก
งานประกวดนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิกิพีเดียด้วยเหตุผลที่ว่า วิกิพีเดียเป็นแพลตฟอร์มที่ไม่หยุดนิ่ง ซึ่งอุทิศให้กับการรวบรวมและแบ่งปันเนื้อหาทางการศึกษาอย่างเสรีสำหรับทุกคน เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและเป็นเว็บไซต์ลำดับที่ 7 ที่ได้รับการเข้าถึงมากที่สุดในโลก ส่งผลให้วิกิพีเดียกลายเป็นแฟลตฟอร์มที่ยอดเยี่ยมสำหรับข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรูปภาพ ดังนั้น การจัดงานประกวดภาพถ่ายนี้จึงถือเป็นแรงผลักดันให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์และวิกิมีเดีย
Wiki Science Competition จะมีการแข่งขันในสองระดับ คือระดับประเทศและระดับนานาชาติ รูปภาพที่ชนะงานประกวดระดับประเทศจะได้รับการส่งไปแข่งขันในระดับนานาชาติต่อไป
กติกาการประกวดแข่งขัน[edit]
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
วิธีการเข้าร่วม[edit]
ปิดรับภาพถ่ายแล้ว
ผลงานที่ได้รับรางวัล[edit]
ทางผู้จัดได้ติดต่อไปยังหน้า Talk page ของผู้ที่ได้รับรางวัลในเดือนมกราคม 2565
บุคคลในวิทยาศาสตร์[edit]
National finalist 1 | National finalist 2 | |||
Thailand has a plan to use floating solar farm that’s equivalent to about 70 football fields in size has begun generating power in Ubon Ratchatani, reflecting the country’s push to achieve carbon-neutral status by 2050. These people trying to test a solar farm before using it at Sirindhorn Dam. Joe628 1st national finalist |
A frog dissection in a biology class at school. Tonkaoo 2nd national finalist |
รูปจากกล้องจุลทรรศน์[edit]
National finalist 1 | National finalist 2 | |||
A549 cells isolated from the lung tissue of a 58-year-old Caucasian male with lung cancer. Pinyapat Prisananuntakul 1st national finalist |
Biology is the most powerful technology ever created. Peanutbutter15 2nd national finalist |
สื่อที่ไม่ใช่รูปถ่าย[edit]
National finalist 1 | ||||
Siamosaurus suteethorni gazing off into the sunset. Siamosaurus is a genus of spinosaurid dinosaur from Thailand, known only from tooth fossils. It is the first spinosaurid reported in Asia and the name honors Thai palaeontologist Varavudh Suteethorn. The reconstruction is based on the closely related Ichthyovenator laosensis and a sail fossil from Khok Kruat Formation that could possibly be from Siamosaurus. DinoThaiThai Chatchy 1st national finalist |
รูปชุด[edit]
National finalist 1 | ||||
|
||||
Our planet Earth, our home, is the only planet in the universe where we've ever identified living organisms. The image set shows the colorful nature of our Earth and some of man-made structures. Joe628 1st national finalist |
สัตว์ป่ากับธรรมชาติ[edit]
National finalist 1 | National finalist 2 | |||
Black Kites in Nakhon Nayok. Chainfoto 1st national finalist |
Ladybugs foraging on Chinese cap mushrooms in Phetchaburi. Chainfoto 2nd national finalist |
ดาราศาสตร์[edit]
National finalist 1 | National finalist 2 | |||
A beautiful landscape of paddy fields under the Milky Way at Pa Pong Pieng village in Mae Chaem, Chiang Mai. Chainfoto 1st national finalist |
A crescent Moon and Venus at greatest brilliancy on December 7, 2021, as seen from near Phra Pathom Chedi, Nakhon Pathom. Paul-shy 2nd national finalist |
หมวดหมู่ทั่วไป[edit]
National finalist 1 | National finalist 2 | |||
When zooming inside Thai Vanda spp., the petals, lip and column are shown which can be concluded to be "Amazing". ! Chanokpat.kijkar 1st national finalist |
An ant can lift an object that weighs more than 50 times its own weight. Tonkhaosamon 2nd national finalist |
การตัดสิน[edit]
- ท่านสามารถดูภาพที่ส่งเข้ามาทั้งหมดได้ที่นี่
- ผลงานที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย (33 ผลงาน)
- ผลงานที่ได้รับรางวัล (12 ผลงาน)
หมวดหมู่ภาพ[edit]
บุคคลในวิทยาศาสตร์ – นักวิทยาศาสตร์ในถิ่นที่อยู่
รูปจากกล้องจุลทรรศน์ – รูปจากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน และกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้เลเซอร์ในการสแกน อยู่ภายใต้หมวดนี้
สื่อที่ไม่ใช่รูปถ่าย – ไฟล์เสียงและไฟล์วีดีโอ รวมไปถึงรูปซึ่งสร้างจากคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ อยู่ภายใต้หมวดนี้
Caenorhabditis elegans nematodes, by Heiti Paves
Demonstrating the properties of YBCO superconductor, by Maxim Bilovitskiy
Lorentz сhaos as black hole German A. Chernykh & Irina A, by Chernykh
รูปชุด – รูปที่เชื่อมต่อกัน สามารถมองเป็นชุดเดียวกัน รูปชุดสามารถประกอบไปด้วยด้วยรูปไม่เกิน 10 รูป
สัตว์ป่ากับธรรมชาติ – สิ่งมีชีวิตที่เติบโตหรืออาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เป็นป่า และการถ่ายภาพมาโคร อยู่ภายใต้หมวดหมู่นี้
ดาราศาสตร์ – หมวดหมู่สำหรับรูปที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ เช่น รูปดาวบนท้องฟ้า รูปคนกำลังดูดาว หรือรูปเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดูดาว
หมวดหมู่ทั่วไป – ทุกอย่างนอกเหนือจากที่กล่าวมาอยู่ภายใต้หมวดหมู่นี้ ตั้งแต่ รูปทางโบราณคดี ไปจนถึงรูปของภูเขาไฟ
รางวัล[edit]
ภาพที่เป็นตัวแทนประเทศไทยมีโอกาสเข้าสู่การประกวดระดับนานาชาติต่อไป มีรางวัลระดับนานาชาติแยกต่างหาก 5,600 ยูโร ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.wikisciencecompetition.org/rules/ เจ้าของภาพที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ของการประกวดในประเทศไทยจะได้รับรางวัลต่อไปนี้
*หมายเหตุ ทางผู้จัดขอสงวนสิทธิ์ในการแจกรางวัลเพียงรางวัลเดียวต่อผู้ชนะหนึ่งท่าน |
คณะกรรมการ[edit]
คณะกรรมการประกอบด้วยตัวแทนผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์จากหลายหลายแขนง
- รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ)
- คุณวิษณุ เอื้อชูเกียรติ สยามสมาคม สมาคมดาราศาสตร์ไทย และกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ดาราศาสตร์แห่งราชบัณฑิตยสภา
- ดร.สว่าง เพชรวิเศษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ)
ผู้สนับสนุน[edit]
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) www.nstda.or.th |
![]() www.wikimedia.org |
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) www.ipst.ac.th |
ดำเนินการโดย
กลุ่มอาสาสมัครวิกิมีเดียในประเทศไทย
อาสาสมัคร
ทีมผู้จัด: Karto1, Tanapatjms, Teetee_taw
ทีมสนับสนุน: Athikhun.suw, taweetham