Commons:Wiki Science Competition 2017 in Thailand

From Wikimedia Commons, the free media repository
Jump to navigation Jump to search

Wiki Science Competition is an international photo contest for the sciences hosted by Wikimedia
Wiki Science Competition เป็นการประกวดภาพถ่ายนานาชาติเพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์ทุกแขนง จัดโดยวิกิมีเดีย

Submission period: 15 November - 15 December 2017
ระยะเวลาในการส่งผลงาน: 15 พฤศจิกายน ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2560

About/เกี่ยวกับงานประกวด[edit]

Looking for great images. Photo by Mati Kose. Estonian Science Photo Competition 2013. CC BY-SA 3.0.

The Wiki Science Competition (WSC) is an international photo competition for sciences, organized by Wikimedins in Thailand aiming to promote and engage people with science in Thailand and beyond. It will take place between 15 November - 15 December 2017. This competition was first organized in Estonia. In 2015, the contest was expanded to all of Europe. European Science Photo Competition resulted in almost 10,000 freely licensed images attracting over 2,200 contesters. This year is the first time it will be organized globally.

This competition was brought to Wikipedia because Wikipedia is an active platform dedicated to collecting and sharing educational content freely to everyone. Being open access, and 7th most accessed website in the world are just some of the features of Wikipedia that make it an excellent platform for science and science photos in particular. Science photo competition is a motivational framework for catalyzing the formation of sustainable relationship between the scientists and Wikimedia community.

Wiki Science Competition consists of two levels: there is a local competition in each participating country and the local organizing team will forward chosen pictures to the international competition.

Wiki Science Competition (WSC) เป็นงานประกวดภาพถ่ายวิทยาศาสตร์นานาชาติจัดขึ้นโดยกลุ่มอาสาสมัครวิกิมีเดียในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมวิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศไทยและระดับสากล ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน - 15 ธันวาคม 2560 นี้ งานประกวดนี้ได้รับการจัดขึ้นครั้งแรก ณ สาธารณรัฐเอสโตเนีย และในปี 2558 ได้เติบโตขึ้นเป็นงาน European Science Photo Competition ซึ่งจัดขึ้นอย่างแพร่หลายทั่วยุโรป ส่งผลให้มีรูปภาพส่งเข้ามาเกือบ 10,000 ภาพจากผู้เข้าร่วมประกวดกว่า 2,200 ราย สำหรับในปี 2560 นี้เป็นปีแรกที่งานดังกล่าวจะได้รับการจัดขึ้นในระดับโลก

งานประกวดนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิกิพีเดียด้วยเหตุผลที่ว่า วิกิพีเดียเป็นแพลตฟอร์มที่ไม่หยุดนิ่ง ซึ่งอุทิศให้กับการรวบรวมและแบ่งปันเนื้อหาทางการศึกษาอย่างเสรีสำหรับทุกคน เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและเป็นเว็บไซต์ลำดับที่ 7 ที่ได้รับการเข้าถึงมากที่สุดในโลก ส่งผลให้วิกิพีเดียกลายเป็นแฟลตฟอร์มที่ยอดเยี่ยมสำหรับข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรูปภาพ ดังนั้น การจัดงานประกวดภาพถ่ายนี้จึงถือเป็นแรงผลักดันให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์และวิกิมีเดีย

Wiki Science Competition จะมีการแข่งขันในสองระดับ คือระดับประเทศและระดับนานาชาติ รูปภาพที่ชนะงานประกวดระดับประเทศจะได้รับการส่งไปแข่งขันในระดับนานาชาติต่อไป

Rules/กติกาการประกวดแข่งขัน[edit]


Submissions must be made between 15 November - 15 December 2017 with an e-mail registered Wikimedia account.

ท่านสามารถอัปโหลดภาพเพื่อเข้าร่วมการประกวดได้ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน - 15 ธันวาคม 2560 โดยใช้บัญชีผู้ใช้วิกิมีเดียที่กดยืนยันอีเมลแล้ว

There is no limit to the number of images one can upload. If you upload more than one image, only one highest prize is eligible. The rest shall be awarded to the next highest scoring entrant.

ท่านสามารถส่งภาพเข้าประกวดได้ไม่จำกัดจำนวน แต่ท่านมีสิทธิได้รับรางวัลสูงสุดเพียงรางวัลเดียว รางวัลที่เหลือจากความซ้ำซ้อนจะถูกมอบให้แก่เจ้าของภาพที่อยู่ในลำดับถัดไป

The image must be published under a free use license or as public domain. The possible licenses are CC-BY-SA 4.0, CC-BY 4.0, CC0 1.0, and similar.

ต้องเผยแพร่ภาพภายใต้สัญญาอนุญาตเสรี หรือเป็นสาธารณสมบัติ ตัวอย่างเช่น สัญญาอนุญาตเสรีของครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน (CC BY-SA)

Images entered into the competition must be taken or authored by submitter of the image. In case of multiple authors, all the co-authors’ names must be provided. In case of institutional uploads, submission can be made by a representative of the organization.

ภาพที่ส่งเข้ามาต้องเป็นภาพที่ถูกถ่ายโดยผู้อัปโหลดเองหรือผู้อัปโหลดเป็นผู้แต่ง หากมีผู้แต่งมากกว่าหนึ่งต้องระบุชื่อผู้แต่งทุกท่าน ในกรณีที่เจ้าของภาพเป็นองค์กรสามารถให้ตัวแทนองค์กรนั้น ๆ เป็นผู้ส่งภาพได้

The image needs to have a good scientific description. Description in English is required for every submitted image, although descriptions in other languages are also welcomed.

ต้องมีคำบรรยายใต้ภาพเชิงวิทยาศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ หากเป็นไปได้

Upload the highest resolution possible. The image size should be at least 2 megapixels, unless the technology used does not allow it. The image must not contain water mark, logo, additional text, graphics, or insets.

อัปโหลดรูปที่มีความละเอียดสูงที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ หรืออย่างน้อย 2 ล้านพิกเซลเว้นเสียแต่มีข้อจำกัดทางเทคนิค ภาพจะต้องไม่มีลายน้ำ โลโก้ ข้อความหรือรูปที่เพิ่มเข้าไป

Awarded photos/ภาพที่ได้รับรางวัล[edit]

Winners were contacted by email in January 2019. ทางผู้จัดได้ติดต่อไปยังผู้รับรางวัลผ่านทางอีเมลภายในเดือนมกราคม 2561

General category[edit]

National finalist 1 National finalist 2
The Milky Way is among the large rocks that have been around for a long time.
Bell Kroekrit
1st national finalist
A family of Assamese macaque
Asssameme
2nd national finalist

Microscopy category[edit]

National finalist 1 National finalist 2
Acanthamoeba spp (Cyst)
Punlop Anusonpornperm
1st national finalist
E.coli expressing RFP and GFP
Pakpoom Subsoontorn
2nd national finalist


People in Science[edit]

National finalist 1 National finalist 2
Young scientists in my classroom
Coolair29
1st national finalist
Scientist working in the lab
Yakuzakorat
2nd national finalist

Non-photographic media[edit]

National finalist 1 National finalist 2
Geyser Hot springs Landmark At Raksawarin Public Park in Ranong
DarkInSeiOnG
1st national finalist
Green lguana Watercolour on paper
Punlop Anusonpornperm
2nd national finalist

Judging/การตัดสิน[edit]

Image categories/หมวดหมู่ภาพ[edit]

People in science/ บุคคลในวิทยาศาสตร์

Scientists in their natural habitat นักวิทยาศาสตร์ในถิ่นที่อยู่

Microscopy images/รูปจากกล้องจุลทรรศน์

Optical, electron, and scanning probe microscopy images all fall under this category. รูปจากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน และกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้เลเซอร์ในการสแกน อยู่ภายใต้หมวดนี้


Non-photographic media/สื่อที่ไม่ใช่รูปถ่าย

Audio and video files, computer-generated imagery, etc. ไฟล์เสียงและไฟล์วีดีโอ รวมไปถึงรูปซึ่งสร้างจากคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ อยู่ภายใต้หมวดนี้

Image sets/ รูปชุด

Thematically linked images, that can be viewed as one set. Image set could be made up from up to 10 separate images. รูปที่เชื่อมต่อกัน สามารถมองเป็นชุดเดียวกัน รูปชุดสามารถประกอบไปด้วยด้วยรูปไม่เกิน 10 รูป

General category/ หมวดหมู่ทั่วไป

Everything else goes into this category, from archaeology to zoology and from vulcanology to astronomy. ทุกอย่างนอกเหนือจากที่กล่าวมาอยู่ภายใต้หมวดหมู่นี้ ตั้งแต่ รูปทางโบราณคดี ไปจนถึงรูปทางสัตววิทยา และจากรูปของภูเขาไฟไปจนถึงรูปทางดาราศาสตร์

Awards/รางวัล[edit]

เจ้าของภาพที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายจะได้รับรางวัลต่อไปนี้ *

  • เงินสดหรือ Central gift card มูลค่า 1,000 บาท
  • โล่รางวัลและประกาศนียบัตร
  • โทรศัพท์เคลื่อนที่จากดีแทค 1 เครื่อง มูลค่า 4,190 บาท
  • หนังสือที่ระลึกจากสยามสมาคม
  • โปสการ์ดจากวิกิมีเดีย

*หมายเหตุ ทางผู้จัดขอสงวนสิทธิ์ในการแจกรางวัลเพียงรางวัลเดียวต่อผู้ชนะหนึ่งท่าน

Jury/ คณะกรรมการ[edit]

The jury comprises of specialists across scientific disciplines.

  • Assoc. Prof. Dr. Chaitip Wanichanon, Mahidol University (Anatomy)
  • Assoc. Prof. Dr. Jessada Denduangboripant, Chulalongkorn University (Life sciences)
  • Mr. Visanu Euarchukiati, Siam Society, Thai Astronomical Society and a committee member for Astronomy Vocabulary Dictionary of the Thai Royal Society

คณะกรรมการประกอบด้วยตัวแทนผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์จากหลายหลายแขนง

  • รศ.ดร.ชัยทิพย์ วนิชานนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล (สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์)
  • รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ)
  • คุณวิษณุ เอื้อชูเกียรติ สยามสมาคม สมาคมดาราศาสตร์ไทย และกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ดาราศาสตร์แห่งราชบัณฑิตยสภา

Local sponsors/ผู้สนับสนุน[edit]


Wikimedia Foundation
The Siam Society
สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์
DTAC
ดีแทค


ดำเนินการโดย

กลุ่มอาสาสมัครวิกิมีเดียในประเทศไทย

ทีมอาสาสมัคร: Athikhun.suw, taweetham, Pilarbini